วันจันทร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

คู่มือเตรียมสอบ

#แจกแนวข้อสอบ#แนะนำการสอบ#ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์#เทคนิคการทำข้อสอบ#รวมแนวข้อสอบกรมราชทัณฑ์#คู่มือเตรียมสอบ#สอบงานราชการ#E-BOOK#หนังสือเตรียมสอบกรมราชทัณฑ์ ทุกตำแหน่ง
ดูรายละเอียดฟรีได้ที่ : http://xn--b3cofp2d9de7s.blogspot.com/









>>รวมแนวข้อสอบทั้งเก่าและใหม่ที่ออกบ่อยๆพร้อมเฉลยแบบอธิบายไว้ในเล่มเดียว 200-220 หน้า
>>เก็งและสรุปแนวข้อสอบม  เนื้อหาครอบคลุมทุกวิชาที่ใช้สอบ มีความรู้ทั่วไปและเฉพาะตำแหน่งที่สอบให้
>>อ่านเข้าใจง่าย มีเฉลยอธิบาย ครบ แน่น ตรงประเด็น เหมาะสำหรับคนที่มีเวลาเตรียมตัวน้อย
>>รวบรวมและจัดทำขึ้นโดยคณะอาจารย์และรุ่นพี่ที่สอบได้จากสนามจริง การันตีคุณภาพ

(ดาวน์โหลด)แนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานได้ที่  : www.topsheetonline.com
สนใจสอบถามและสั่งซื้อมาที่ : คุณนุชจรี
Tel : 090-8134236
ID Line : topsheet1
E-mail : topsheet1@gmail.com




ผลงานลูกค้า


เปิดสอบ ราชการ งานราชการ หางาน สอบราชการ พนักงานราชการ สอบบรรจุ หางาน รับสมัครงาน สอบ กพ. อบต. สอบภาค ก สอบภาค ข รับสมัครงาน ศูนย์รวมงานราชการ
ศูนย์หนังสือสอบ sheetbook เป็นที่รวบรวมแนวข้อสอบรับราชการ ทุกหน่วยงาน และนี่คือผลงาน ความคิดเห็นของลูกค้าที่ซื้อข้อสอบจากเราไป บางส่วน














1
2
3
4
5
6
7
8





ติดตาม Facebook

ติดตาม Facebook

Youtube

แนวข้อสอบกรมราชทัณฑ์




รายละเอียดวิชาที่สอบ #
แนวข้อสอบกรมราชทัณฑ์
นักวิชาการสถิติ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
3 แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์
4 สรุปสาระสำคัญ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
5 แนวข้อสอบ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6 สรุประเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขัง  พ.ศ.2549
7 สรุป พรบ.วินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พศ. 2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
8 แนวข้อสอบ พรบ.วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2506
9 แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
10 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

+++ อ่านประกาศเพิ่มเติม และลิ้งค์สมัครที่ http://www.งานราชการไทย.com/
+++ กดติดตามรับข้อสอบที่ : http://line.me/ti/p/%40awr8388d
+++ กดถูกใจเพื่อรับแนวข้อสอบ
กรมราชทัณฑ์
ที่ https://www.facebook.com/1020519198045664

แนวข้อสอบ

++รวมแนวข้อสอบทั้งเก่าและใหม่ที่ออกบ่อยๆพร้อมเฉลยแบบอธิบายไว้ในเล่มเดียว 200-220 หน้า
++เก็งและสรุปแนวข้อสอบม  เนื้อหาครอบคลุมทุกวิชาที่ใช้สอบ มีความรู้ทั่วไปและเฉพาะตำแหน่งที่สอบให้
++อ่านเข้าใจง่าย มีเฉลยอธิบาย ครบ แน่น ตรงประเด็น เหมาะสำหรับคนที่มีเวลาเตรียมตัวน้อย
++รวบรวมและจัดทำขึ้นโดยคณะอาจารย์และรุ่นพี่ที่สอบได้จากสนามจริง การันตีคุณภาพ

*********************************************************************************
{NEW}แนวข้อสอบเจ้าพนักงานราชทัณฑ์ กรมราชทัณฑ์
D ความรู้เกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
D แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
D เเนวข้อสอบ พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พศ. 2551
D ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
D แนวข้อสอบ พ. ร. บ. ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
D แนวข้อสอบ พ.ร.บ.วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2506
D แนวข้อสอบพระราบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา
D แนวข้อสอบ พรบ.พระราชกฤษฎีกาบ้านเมืองที่ดี พศ.2546
D สรุป พรบ.วินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พศ. 2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
D หลักการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง
D แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์
D สรุประเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขัง พ.ศ.2549

 แนวข้อสอบ  เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ (ผู้ต้องขังหญิง) กรมราชทัณฑ์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
3 แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์
4 สรุปสาระสำคัญ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
5 แนวข้อสอบ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6 สรุประเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขัง  พ.ศ.2549
7 สรุป พรบ.วินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พศ. 2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
8 แนวข้อสอบ พรบ.วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2506
9 แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
10 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
11 การเตรียมตัวสอบภาค ค.กรมราชทัณฑ์

แนวข้อสอบ นักทัณฑวิทยา (งานควบคุมผู้ต้องขังชายและอื่นๆ) กรมราชทัณฑ์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
3 อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา
4 สรุปสาระสำคัญ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
5 แนวข้อสอบ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6 สรุประเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขัง  พ.ศ.2549
7 สรุป พรบ.วินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พศ. 2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
8 แนวข้อสอบ พรบ.วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2506
9 แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
10 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
11 แนวข้อสอบอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา
12 การเตรียมตัวสอบภาค ค.กรมราชทัณฑ์
mp3 พระราชบัญญัติราชทัณฑ์

แนวข้อสอบ ผู้ช่วยพนักงานราชทัณฑ์ กรมราชทัณฑ์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
3 แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์
4 สรุปสาระสำคัญ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
5 แนวข้อสอบ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6 สรุประเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขัง  พ.ศ.2549
7 สรุป พรบ.วินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พศ. 2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
8 แนวข้อสอบ พรบ.วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2506
9 พรบ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545
10 แนวข้อสอบ พรบ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545
11 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
12 การเตรียมตัวสอบภาค ค.กรมราชทัณฑ์

แนวข้อสอบ พนักงานควบคุม กรมราชทัณฑ์
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
3 แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์
4 สรุปสาระสำคัญ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
5 แนวข้อสอบ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6 สรุประเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขัง  พ.ศ.2549
7 สรุป พรบ.วินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พศ. 2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
8 แนวข้อสอบ พรบ.วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2506
9 พรบ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545
10 แนวข้อสอบ พรบ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545
11 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
12 การเตรียมตัวสอบภาค ค.กรมราชทัณฑ์



#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ #กรมราชทัณฑ์

#รวมแนวข้อสอบราชการ #แนวข้อสอบราชการ #เปิดสอบงานราชการ #แนวข้อสอบงานราชการ , #เตรียมสอบงานราชการ, #หนังสืองานราชการ, #เปิดสอบราชการ2559, #คู่มือสอบสอบงานราชการ, #แนวข้อสอบราชการ2559, #เตรียมสอบราชการ2559

(ดาวน์โหลด)แนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานได้ที่  www.topsheetonline.com
สนใจสอบถามและสั่งซื้อมาที่ : คุณนุชจรี
Tel : 090-8134236
ID Line : topsheet1
E-mail : topsheet1@gmail.com



























ตัวอย่างแนวข้อสอบ


1.พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ฉบับที่ใช้ใน
ปัจจุบันเป็นฉบับ พ.ศ.ใด
ก. พ.ศ.2536          ข. พ.ศ.2539
ค. พ.ศ.2542          ง. พ.ศ.2546
ตอบ ง. พ.ศ.2546
พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า“พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546”

2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีผลบังคับใช้
เมื่อใด
ก. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 90 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 120 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
 ตอบ ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็น
ต้นไป
แนวข้อสอบกรมราชทัณฑ์ 2557,แนวข้อสอบกรมราชทัณฑ์ 2556,แนวข้อสอบกรมราชทัณฑ์ ก

3. การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ในเรื่องใดสมควรที่สว่ นราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใดและ
จะต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ให้เป็นไปตามที่ผู้ใดกำหนด
ก. คณะรัฐมนตรี               ข. นายกรัฐมนตรี
ค. นายกรัฐมนตรี              ง. ประธานศาลฎีกา
แนวข้อสอบกรมราชทัณฑ์ 2557,แนวข้อสอบกรมราชทัณฑ์ 2556,แนวข้อสอบกรมราชทัณฑ์
ตอบ ก. คณะรัฐมนตรี
การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ในเรื่องใดสมควรที่ส่วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใด
และจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะของ
ก.พ.ร.

4. จากข้อข้างต้น จะต้องได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ใด
ก. ก.พ.             ข. ก.พ.ร.
ค. อ.ก.ค.          ง. อ.ก.พ.
 ตอบ ข. ก.พ.ร.
คำอธิบายดังข้อข้างต้น

5. “รัฐวิสาหกิจ” นั้นจะต้องจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมายใด
ก. พรบ. และ พรฎ.            ข. พรบ. และ ข้อบัญญัติ
ค. พรบ. หรือ พรฎ.           ง. พรบ. หรือ ข้อบัญญัติ
 ตอบ ค. พรบ. หรือ พรฎ.
“รัฐวิสาหกิจ” หมายความว่ารัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราช
กฤษฎีกา

6. ผู้รักษาการตาม พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่
ดี พ.ศ. 2546  คือใคร
ก. นายกรัฐมนตรี                        ข. คณะรัฐมนตรี
ค. วุฒิสภา                                ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
 ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี
ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้

7. หมวด 1 ในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ.2546 นั้นมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. การรบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ข. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ค. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ง. การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
 ตอบ ก. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

8. ข้อใดคือการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า
ง. ถูกทุกข้อ
 ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย
ดังต่อไปนี้
(1)เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
(2)เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
(3)มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
(4)ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
(5)มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์
(6)ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
(7)มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ

9. หมวด 2 ในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ.2546 นั้นมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. การรบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ข. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ค. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ง. การบริหารราชการเพื่อประเทศชาติ
 ตอบ ข. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน

10.การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึงการปฏิบัติราชการที่มี
เป้าหมายเพื่อสิ่งใด
ก. เพื่อให้เกิดความผาสุก ข. ความเป็นอยู่ดีของประชาชน
ค. ความสงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึง การปฏิบัติราชการที่มี
เป้าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัย
ของสังคมส่วนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุดของประเทศ

 1.บุคคลที่ถูกขังไว้ตามหมายขัง หมายถึง
          ก. ผู้ต้องขัง                                           ข. คนต้องขัง
          ค. คนฝาก                                            ง. นักโทษพิเศษ

2. พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ มิได้ใช้บังคับถึงข้อใด
          ก. เรือนจำตำรวจ                                   ข. เรือนจำทหาร
          ค. เรือนจำนักโทษการเมือง                      ง. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง

3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการยกเว้นเครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขัง
          ก. เป็นบุคคลที่น่าจะทำอันตรายต่อชีวิตหรือร่างกายของตนเองหรือผู้อื่น
          ข. เป็นบุคคลวิกลจริต หรือจิตไม่สมประกอบอันอาจเป็นภยันตรายต่อผู้อื่น
          ค. เป็นบุคคลที่น่าจะพยายามหลบหนีการควบคุม
ง. ถูกทุกข้อ

4. ที่ซึ่งใช้ควบคุมกักขังผู้ต้องขังกับทั้งสิ่งที่ใช้ต่อเนื่องกัน และให้หมายความรวมตลอดถึง
ที่อื่นใดซึ่งรัฐมนตรีได้กำหนดและประกาศในราชกิจจานุเบกษาวางอาณาเขตไว้โดยชัดเจน
หมายความถึงข้อใด
          ก. เรือนจำ                                            ข. ที่ฝากขัง
          ค. สถานพินิจ                                        ง. ห้องขัง                                

5. การย้ายผู้ต้องขังจากเรือนจำหนึ่งไปยังอีกเรือนจำหนึ่งนั้นให้เป็นไปตามคำสั่งของผู้ใด
ก. อธิบดีกรมราชทัณฑ์                                     ข. รัฐมนตรี
ค. หัวหน้าเรือนจำ                                           ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด

6.เจ้าพนักงานเรือนจำอาจใช้อาวุธได้ในกรณีใด
          ก. เมื่อปรากฏว่าผู้ต้องขังกำลังหลบหนีหรือพยายามจะหลบหนี และไม่มีทางจะป้องกันอย่างอื่นนอกจากใช้อาวุธ
          ข. เมื่อผู้ต้องขังหลายคนก่อความวุ่นวายหรือพยายามใช้กำลังเปิดหรือทำลายประตู รั้ว หรือกำแพงเรือนจำ
          ค. เมื่อปรากฏว่าผู้ต้องขังจะใช้กำลังกายทำร้ายเจ้าพนักงานหรือผู้อื่น
          ง. ถูกทุกข้อ

7. เจ้าพนักงานเรือนจำอาจใช้อาวุธปืนแก่ผู้ต้องขังได้ในกรณีใด
         ก. ผู้ต้องขังไม่ยอมวางอาวุธ เมื่อเจ้าพนักงานสั่งให้วาง
          ข. ผู้ต้องขังที่กำลังหลบหนีไม่ยอมหยุด ในเมื่อเจ้าพนักงานสั่งให้หยุดและไม่มีทางอื่นที่จะจับกุมได้
          ค. ผู้ต้องขังตั้งแต่สามคนขึ้นไป ก่อการวุ่นวายหรือพยายามใช้กำลังเปิดหรือทำลายประตู รั้ว หรือกำแพงเรือนจำหรือใช้กำลังกายทำร้ายเจ้าพนักงานหรือผู้อื่น และไม่ยอมหยุดในเมื่อเจ้าพนักงานสั่งให้หยุด
          ง. ถูกทุกข้อ

8.  ในกรณีเหตุฉุกเฉินอันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ต้องขัง ถ้าเจ้าพนักงานเรือนจำไม่สามารถจะย้ายผู้ต้องขังไปควบคุมไว้ ณ ที่อื่นได้ทันท่วงที จะปล่อยผู้ต้องขังไปชั่วคราวก็ได้แต่ผู้ต้องขังที่ถูกปล่อยไปนั้นต้องกลับมาเรือนจำ หรือรายงานตนยังสถานีตำรวจ หรือที่ว่าการอำเภอภายในกี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ปล่อยไป
ก. สิบสองชั่วโมง                                             ข. สิบสี่ชั่วโมง
ค. สิบหกชั่วโมง                                              ง. ยี่สิบสี่ชั่วโมง

9. นักโทษที่เด็ดขาดที่เหลือจำคุกไม่เกินสองปี  เพื่อทำงานสาธารณะนั้น นักโทษเด็ดขาดที่กระทำผิดในเรื่องใดที่ไม่อาจได้รับการพิจารณา
          ก.ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
          ข. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ
          ค. ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร
          ง. ถูกทุกข้อ

10. ในการขังผู้กระทำผิดวินัยนั้น เจ้าพนักงานเรือนจำตัดการอนุญาตให้ได้รับการเยี่ยมเยียน ซึ่งการลงโทษในกรณีเช่นนี้จะกระทำได้ไม่เกินเท่าใด
          ก. หนึ่งเดือน                                         ข. สองเดือน
          ค. สามเดือน                                         ง. สี่เดือน


โหลดแนวข้อสอบพร้อมเฉลยเพิ่มที่ .......






แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดนครพนม
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดสกลนคร
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดมุกดาหาร
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดอุบลราชธานี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดหนองคาย
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดอำนาจเจริญ
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดหนองบัวลำภู
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดศรีสะเกษ
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดอุดรธานี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดยโสธร
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดเลย
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดกาฬสินธุ์
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดร้อยเอ็ด
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดมหาสารคาม
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดสุรินทร์
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดขอนแก่น
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดบุรีรัมย์
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดเพชรบูรณ์
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดชัยภูมิ
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดนครราชสีมา
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดเชียงใหม่
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัด-เชียงราย
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดแม่ฮ่องสอน
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดพะเยา
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดลำพูน
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดน่าน
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดลำปาง
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดแพร่
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดอุตรดิตถ์
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดตาก
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดพิษณุโลก
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดกำแพงเพชร
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดพิจิตร
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดนครสวรรค์
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดอุทัยธานี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดชัยนาท
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดลพบุรี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดสิงห์บุรี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดปราจีนบุรี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดสระบุรี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดนครนายก
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดอ่างทอง
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดราชบุรี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดสุพรรณบุรี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดอยุธยา
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดสมุทรสงคราม
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดสมุทรสาคร
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดสระแก้ว
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดตราด
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดจันทบุรี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดระยอง
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดชลบุรี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดฉะเชิงเทรา
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดเพชรบุรี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดชุมพร
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดระนอง
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดสุราษฎร์ธานี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดนครศรีธรรมราช
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดพังงา
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดกระบี่
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดตรัง
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดพัทลุง
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดภูเก็ต
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดสงขลา
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดนราธิวาส
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดปัตตานี
 แนวข้อสอบ#เจ้าพนักงานราชทัณฑ์#กรมราชทัณฑ์#จังหวัดยะลา

ความรู้ทั่วไป

กรมราชทัณฑ์
กรมราชทัณฑ์ (อังกฤษ: Department of Corrections) เป็นหน่วยงานของกระทรวงยุติธรรม ทำหน้าที่ดูแลเรือนจำและนักโทษ จากคดีต่างๆ

ประวัติกรมราชทัณฑ์
การราชทัณฑ์ของไทย ได้มีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้อง กับสังคมการเมืองและสภาพเศรษฐกิจ ตลอดยุคสมัยที่ผ่านมา ในยุคก่อนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการเรือนจำได้ สังกัดอยู่ตามส่วนราชการต่างๆ สอดคล้องกับการปกครองแบบจตุสดมภ์ คือ แบ่งเป็นเรือนจำในกรุงเทพ ฯ และเรือนจำในหัวเมืองชั้นนอก เรือนจำในกรุงเทพฯ มี 2 ประเภท คือ “คุก” เป็นที่คุมขังผู้ต้องขังที่มีโทษ ตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป อยู่ในสังกัดกระทรวงนครบาล ส่วน “ตะราง” 
ใช้เป็นที่คุมขัง ผู้ต้องขังที่มีโทษต่ำกว่า 6 เดือน หรือนักโทษที่มิใช่โจรผู้ร้าย สังกัดกระทรวง ทบวง กรม ที่บังคับกิจการนั้น ๆ ส่วนการเรือนจำในหัวเมืองชั้นนอก มีที่คุมขัง ผู้ต้องโทษ เรียกว่า “ตะราง” การคุมขังอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ว่าราชการเมือง หรืออาจส่งต่อให้กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม รับตัวไปคุมขัง แล้วแต่กรณีโทษ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการปรับปรุงระเบียบราชการใหม่ โดยโปรดให้สร้างคุกใหม่ขึ้น เรียกว่า “กองมหันตโทษ” และ ให้สร้างตะรางใหม่ เรียกว่า “กองลหุโทษ” ซึ่งในสมัยนั้น รวมเรียกว่า “ กรมนักโทษ ” 
สังกัดกระทรวงนครบาล และใน ปี พ.ศ. 2444 (ร.ศ.120) ได้มี พระกรุณาโปรดเกล้า ให้ตรา “พระราชบัญญัติลักษณะเรือนจำ” ขึ้นเพื่อให้การจัดการเรือนจำเป็นไปอย่างเรียบร้อยยิ่งขึ้น จนถึงวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ตรา “พระราชบัญญัติจัดตั้งกรมราชทัณฑ์” โดยมี พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์) เป็นอธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรก
ในปี พ.ศ. 2468 ได้เกิดภาวะตกต่ำทางเศรษฐกิจ งบประมาณ รายได้รายจ่ายไม่ได้คุณภาพกับ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงยุบกรมราชทัณฑ์และให้ไปสังกัดกระทรวงยุติธรรม และต่อมาได้โอนกรมราชทัณฑ์ไปเป็นแผนกหนึ่ง (แผนกราชทัณฑ์) สังกัดกระทรวงมหาดไทย
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การราชทัณฑ์ได้ยกฐานะเป็นกรมราชทัณฑ์ และมีการตราพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 มีหน้าที่เกี่ยวด้วยการเรือนจำ การกักกัน ผู้มีสันดานเป็นโจรผู้ร้ายการฝึกและอบรมเด็กดัดสันดาน และในส่วนภูมิภาคได้มีการกำหนดเป็น เรือนจำจังหวัด และเรือนจำอำเภอ
ในปี พ.ศ. 2545 ได้มีการปฏิรูประบบราชการ จึงได้โอนย้าย กรมราชทัณฑ์กลับมาสังกัดกระทรวงยุติธรรม

อำนาจและหน้าที่
1.ปฏิบัติต่อผู้กระทำผิดให้เป็นไปตามคำพิพากษาหรือคำสั่งตามกฎหมาย โดยดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการราชทัณฑ์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
2.กำหนดแนวทางปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง โดยให้สอดคล้องกับ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ นโยบายของกระทรวง หลักอาชญาวิทยา และหลัก ทัณฑวิทยา ตลอดจนข้อกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำสำหรับปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง และข้อเสนอแนะ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ขององค์การสหประชาชาติ
3.ดำเนินการเกี่ยวกับสวัสดิการและการสงเคราะห์แก่ผู้ต้องขัง
4.ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้ เป็นอำนาจหน้าที่ ของกรม หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

หน่วยงานในสังกัด
สำนักงานเลขานุการกรม
กองบริการทางการแพทย์
สำนักผู้ตรวจราชการกรม
กองคลัง
กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม
สหกรณ์ออมทรัพย์กรมราชทัณฑ์
กองการเจ้าหน้าที่
หน่วยตรวจสอบภายใน
สำนักพัฒนาพฤตินิสัย
กองสังคมสงเคราะห์
สำนักงานขับเคลื่อนพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
กองนิติการ
ศูนย์ข่าวกรองและความมั่นคง
สำนักทัณฑปฏิบัติ
กองแผนงาน
สำนักทัณฑวิทยา
ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษ
กองโยธาและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สถาบันพัฒนาข้าราชการราชทัณฑ์ (วิทยาลัยการราชทัณฑ์ และโรงเรียนพัศดี)

เรือนจำ ทัณฑสถาน และสถานที่กักขัง
เรือนจำกลาง หมายถึง เรือนจำปกติรับคุมขังผู้ต้องขังที่มีคำพิพากษาแล้ว และนักโทษเด็ดขาด ที่มีโทษจำคุกตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ปัจจุบันมีเรือนจำกลาง 34 แห่ง โดยมีเรือนจำกลางที่มีอำนาจคุมขังผู้ต้องขังที่ต้องรับโทษจำคุก 15 ปี ถึงประหารชีวิต จำนวน 2 แห่ง คือ เรือนจำกลางบางขวาง และเรือนจำกลางคลองเปรม
เรือนจำพิเศษ เป็นเรือนจำที่รับผู้ต้องขังประเภทเดียวกับเรือนจำส่วนภูมิภาค ซึ่งในพื้นที่นั้นไม่มีเรือนจำส่วนภูมิภาคตั้งอยู่ เรืองจำพิเศษมีอำนาจคุมขัง ผู้ต้องขังที่ต้องรับโทษจำคุกไม่เกิน 7 ปี (2 แห่ง) จนถึงจำคุกไม่เกิน 15 ปี (28 แห่ง) ปัจจุบันมีเรือนจำพิเศษ 30 แห่ง
เรือนจำจังหวัด เป็นเรือนจำส่วนภูมิภาคที่มีอำนาจคุมขัง ผู้ต้องขังที่ต้องรับโทษจำคุกไม่เกิน 15 ปี แต่มีเรือนจำจังหวัด 1 แห่ง ที่มีอำนาจคุมขังผู้ต้องขังที่ต้องรับโทษจำคุกไม่เกิน 25 ปี คือ เรือนจำจังหวัดตรัง ปัจจุบันมีเรือนจำจังหวัด 49 แห่ง
เรือนจำอำเภอ เป็นเรือนจำส่วนภูมิภาคที่มีอำนาจคุมขัง ผู้ต้องขังที่ต้องรับโทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี จนถึงจำคุกไม่เกิน 15 ปี ปัจจุบันมีเรือนจำอำเภอ 26 แห่ง
ทัณฑสถาน
ทัณฑสถาน เป็นสถานที่ควบคุม กักขังผู้ต้องขังที่ได้รับการคัดแยกประเภทแล้ว เพื่อประโยชน์ในการควบคุม บำบัดรักษา การอบรมแก้ไข และการฝึกวิชาชีพ เช่น หญิง วัยหนุ่ม บำบัดพิเศษ ปัจจุบันมีจำนวน 25 แห่ง 
มีทัณฑสถานที่รับผู้ต้องขังที่ต้องรับโทษจนถึงประหารชีวิต จำนวน 2 แห่ง คือ ทัณฑสถานหญิงกลาง ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ และทัณฑสถานที่รับผู้ต้องขังที่ต้องรับโทษจนถึงจำคุกตลอดชีวิต จำนวน 3 แห่ง คือ ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ ทัณฑสถานบำบัดพิเศษกลาง ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง
สถานกักขัง
สถานกักขัง เป็นสถานที่ที่มีอำนาจควบคุมผู้ต้องกักขัง ซึ่งถูกกำหนดโทษกักขัง ปัจจุบันมีสถานกักขัง 5 แห่ง ได้แก่ สถานกักขังกลางจังหวัดลำปาง สถานกักขังกลางจังหวัดตราด สถานกักขังกลางจังหวัดปทุมธานี สถานกักขังกลางจังหวัดร้อยเอ็ด และสถานกักขังกลางจังหวัดนครศรีธรรมราช


ขอบคุณข้อมูลจาก : กรมราชทัณฑ์ - วิกิพีเดีย



แนะนำการสอบ



                                                         
                                                                  ประกาศกรมราชทัณฑ์

                   เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง
                        เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน (งานควบคุมผู้ต้องขังชายและอื่นๆ)

ด้วยกรมราชทัณฑ์ จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งเจ้าพนักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน (งานควบคุมผู้ต้องขังชายและอื่นๆ) จำนวน 723 อัตรา รายละเอียดดังนี้

ตำแหน่งที่เปิดรับสมัครสอบ
ตำแหน่งเจ้าพนักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน (งานควบคุมผู้ต้องขังชายและอื่นๆ)
จำนวนตำแหน่งที่จะใช้บรรจุครั้งแรก จำนวน : 723 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11,500 - 12,650 บาท

คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง :
- เป็นผู้ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ อนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา และ
- เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับ ปวส. หรือ อนุปริญญา ขึ้นไป ของสำนักงาน ก.พ. และ
- เป็นชายที่มีร่างกายแข็งแรง สูงไม่น้อยกว่า 165 เซนติเมตร และรอบอกไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร แต่ถ้าหากสัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่งน้อยกว่าที่กำหนดไว้ไม่เกิน 2 เซนติเมตร ก็ให้ใช้ได้โดยอนุโลมเมื่อจำนวนรวมไม่น้อยกว่า 245 เซนติเมตร

การรับสมัครสอบ
กรมราชทัณฑ์ เปิดรับสมัครสอบผ่านทางอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม - 11 พฤศจิกายน 2559 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ ที่เว็บไซต์ http://correct.thaijobjob.com/

รายละเอียดเพิ่มเติม
ไฟล์ประกาศรับสมัครสอบ

*********************************************************************************
#แจกแนวข้อสอบ#แนะนำการสอบ#ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์#เทคนิคการทำข้อสอบ#รวมแนวข้อสอบกรมราชทัณฑ์#คู่มือเตรียมสอบ#สอบงานราชการ#E-BOOK#หนังสือเตรียมสอบกรมราชทัณฑ์
###ดูรายละเอียดฟรีได้ที่  http://xn--b3cofp2d9de7s.blogspot.com/

{NEW}แนวข้อสอบเจ้าพนักงานราชทัณฑ์ กรมราชทัณฑ์
D ความรู้เกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
D แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
D เเนวข้อสอบ พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พศ. 2551
D ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
D แนวข้อสอบ พ. ร. บ. ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
D แนวข้อสอบ พ.ร.บ.วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2506
D แนวข้อสอบพระราบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา
D แนวข้อสอบ พรบ.พระราชกฤษฎีกาบ้านเมืองที่ดี พศ.2546
D สรุป พรบ.วินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พศ. 2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
D หลักการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง
D แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์
D สรุประเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขัง พ.ศ.2549

(ดาวน์โหลด)แนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานได้ที่ :www.topsheetonline.com
สนใจสอบถามและสั่งซื้อมาที่ : คุณนุชจรี
Tel : 090-8134236
ID Line : topsheet1
E-mail : topsheet1@gmail.com



>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>

คำแนะนำในการสอบกรมราชทัณฑ์
กรมราชทัณฑ์ ( Department of Corrections) เป็นหน่วยงานของกระทรวงยุติธรรม ทำหน้าที่ดูแลเรือนจำและนักโทษ จากคดีต่างๆ
ในการสอบเข้ากรมราชทัณฑ์ การสอบบรรจุเข้ารับราชการผู้เข้าสอบจะต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของสำนักงาน ก.พ.  ก่อน  แต่ถ้าสอบเป็นพนักงานราชการไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค  ก ของ ก.พ.  การสอบเข้ากรมราชทัณฑ์ จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่  2  ครั้ง   คือ  ครั้งที่  1  โดยการสอบข้อเขียน   ครั้งที่  2  โดยการสัมภาษณ์  และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่  2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์  ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60
การเตรียมตัวสอบ
ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม  ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก  ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้  ฝึกทำข้อสอบเก่า  โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ  ข้อสอบของกรมราชทัณฑ์จะออกแนววิเคราะห์ และมีตัวลวงมาก
ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง  ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่  แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด  ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน  และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี   นอกจากนี้ควรศึกษาเส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ  เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว
นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย  เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์  พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ  โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต  และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร
ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง  โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง   2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ   3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน

วิชาที่ใช้สอบเป็นพนักงานราชการ   มีดังนี้คือ
การประเมินครั้งที่  1  โดยวิธีสอบข้อเขียน   (100  คะแนน)
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานราชทัณฑ์
- ระเบียบว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2479
- ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ
การประเมินครั้งที่  2 โดยการสอบสัมภาษณ์  (100  คะแนน)
พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา  ประวัติการทํางาน ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง การมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ท่วงที วาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และจรรยาบรรณ

วิชาที่ใช้สอบเป็นข้าราชการ   มีดังนี้คือ
1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง  ( 200  คะแนน )
2. การสอบสัมภาษณ์   ( 100  คะแนน )  ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งโดยวิธีการทดสอบสมรรถภาพของร่างกายและวิธีการสัมภาษณ์
2.1 การทดสอบวิ่ง  (50 คะแนน)โดยให้ผู้สมัครสอบวิ่งเป็นระยะทาง 1,000 เมตร ภายในระยะเวลาที่กำหนดไม่เกิน 6 นาที  20 วินาที
2.2. สัมภาษณ์   (50 คะแนน)
ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60  จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง

รายละเอียดวิชาที่สอบ
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
3 แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์
4 สรุปสาระสำคัญ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
5 แนวข้อสอบ พรบ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6 สรุประเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขัง  พ.ศ.2549
7 สรุป พรบ.วินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พศ. 2482 และจรรยาบรรณข้าราชการราชทัณฑ์
8 แนวข้อสอบ พรบ.วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2506
9 แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
10 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

ตำแหน่งที่สอบ
เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ (งานควบคุมผู้ต้องขังชายและอื่นๆ)
เจ้าพนักงานอบรมและฝึกวิชาชีพ (ผู้ต้องขังหญิง)
นักทัณฑวิทยา (งานควบคุมผู้ต้องขังชายและอื่นๆ)
ผู้ช่วยพนักงานราชทัณฑ์
พนักงานควบคุม